อารัมมณะสังคหะ
อารมณ์ ๖ ประเภท หรือ “ฉ อารมณ์”
๑. รูปารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ วัณณะ คือ สีต่างๆ
๒. สัททารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ สัททะ คือ เสียงต่างๆ
๓. คันธารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ คันธะ คือ กลิ่นต่างๆ
๔. รสารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ รสะ คือ รสต่างๆ
๕. โผฏฐัพพารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ ปฐวี, เตโช, วาโย คือ อ่อน-แข็ง, เย็น-ร้อน, หย่อน-ตึง
๖. ธรรมาารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ จิต ๘๙, เจตสิก ๕๒, รูป ๒๑, นิพพาน, บัญญัติ
ธรรมารมณ์ หมายถึง สภาพธรรมที่รู้ได้เฉพาะ ทางใจ คือ มโนทวาร
ได้แก่ สภาพธรรม ๖ ประการ คือ
จิต ๘๙
เจตสิก ๕๒
ปสาทรูป ๕
สุขุมรูป ๑๖
นิพพาน
และบัญญัติ อันเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิกทางใจ
อารมณ์ประเภทที่ ๑ ถึง ๕ เรียกว่า ปัญจารมณ์ ซึ่งเป็น “รูปธรรม”
ส่วนธรรมารมณ์ อารมณ์ที่ ๖
องค์ธรรมได้แก่ จิต - เจตสิก - นิพพาน เป็น “นามธรรม”
สำหรับ ปสาทรูป ๕, สุขุมรูป ๑๖ เป็น “รูปธรรม”
บัญญัติ ไม่เป็นทั้งรูปธรรมและนามธรรม แต่เป็น “บัญญัติธรรม”
๑. จิตรับอารมณ์ ปัจจุบันกามธรรม เป็นอารมณ์อย่างเดียว มี ๑๓ ดวง
คือ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐
มโนธาตุ ๓
“กามธรรม” มีวิสยรูป ๗ คือ วัณณะ – คันธะ – สัททะ – รสะ – ปฐวี – เตโช – วาโย
๒. จิตรับเอา เตกาลิกกามธรรม เป็นอารมณ์อย่างเดียว มี ๑๒ ดวง
มหาวิบากจิต ๘ หรือ ตทาลัมพพนจิต ๑๑
หสนจิต ๑ (หสิตุปปาทจิต)
“เตกาลิกธรรม” คือ ธรรมที่เป็นไปในกาล ๓ มี กามจิต ๕๔, เจตสิก ๕๒, รูป ๒๘
๓. จิตที่รับเอา โลกีย์และบัญญัติ เป็นอารมณ์ มี ๒๐ ดวง
มหากุศลญาณวิปยุตตจิต ๔
มหากิริยาญาณวิปยุตตจิต ๔
๔. จิตที่รับอารมณ์ ได้ทั้งหมด เว้น อรหัตตมรรคและอรหัตตผล มี ๕ ดวง
คือ มหากุศลญาณสัมปยุตตจิต ๔
อภิญญากุศลจิต ๑
๕. จิตที่รับอารมณ์ ทั้งหมดเว้นเลย มี ๖ ดวง
คือ มโนทวาราวัชชนจิต ๑
มหากิริยาญาณสัมปยุตตจิต ๔
๖. จิตที่รับเอา บัญญัติ เป็นอารมณ์ มี ๒๑ ดวง
อรูปาวจรจิตแถวที่ ๑ และ ๓ รวม ๖ ดวง
รูปาวจรปฐมณานจิต ๓ มีบัญญัติธรรมารมณ์ ๒๕ อย่างคือ
กสิณบัญญัติ ๑๐, อสุภบัญญัติ ๑๐, โกฏฐาสบัญญัติ ๑,
อานาปานบัญญัติ ๑, ปิยมนาปสัตว์บัญญัติ ๑,
ทุกขิตสัตว์บัญญัติ ๑, สุขิตสัตว์บัญญัติ ๑
ที่เป็น……กาลวิมุต…..อย่างเดียว
รูปาวจรทุติยณานจิต ๓ มีบัญญัติธรรมารมณ์ ๑๔ อย่างคือ
กสิณบัญญัติ ๑๐, อานาปานบัญญัติ ๑,
ปิยมนาปสัตว์บัญญัติ ๑, ทุกขิตสัตว์บัญญัติ ๑,
สุขิตสัตว์บัญญัติ ๑
ที่เป็น…..กาลวิมุต……อย่างเดียว
รูปาวจรปัญจมณานจิต ๓ มีบัญญัติธรรมารมณ์ ๑๒ อย่างคือ
กสิณบัญญัติ ๑๐, อานาปานบัญญัติ ๑,
มัชฌัตตสัตว์บัญญัติ ๑
ที่เป็น…..กาลวิมุต…...อย่างเดียว
๗. จิตที่รับเอา มหัคคตะ เป็นอารมณ์ มี ๖ ดวง
วิบาก ๑ ๓ ดวง
กิริยา ๑
เนวสัญญานาสัญญายตนกุศล ๑
วิบาก ๑ ๓ ดวง
กิริยา ๑
๘. จิตที่รับเอา พระนิพพาน เป็นอารมณ์ มี ๘ ดวง หรือ ๔๐ ดวง
คือ โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐
มี ธรรมารมณ์ คือ นิพพาน
ที่เป็น….กาลวิมุต….อย่างเดียว
อธิบดีอารมณ์ มี ๕ หมวด
สัททรูป ๑ รวม ๑๘
เอกันตะปัจจุบันกามธรรม ๙
หมวดที่ ๕ โลกุตตรจิต ๘ รับเอา พระนิพพาน
(เป็นอารมณ์อธิบดีได้)
จิตรับอารมณ์แน่นอน ๒๕, ๖, ๒๑, ๘ |
จิตรับอารมณ์ไม่แน่นอน ๒๐, ๕, ๖
|
๒๕ คือ ๑๓ (ทวิ ๑๐ + มโนธาตุ ๓) ๑๒ (สันตี ๓ + มหาวิบาก ๘ + หสน ๑) รับอารมณ์ ๖ ที่เป็นกามธรรมอย่างเดียว |
๑๒ (อกุศลจิต) ๒๐ คือ ๔ (มหากุศลวิป.) ๔ (มหากิริยาวิป.) รับอารมณ์ ๖ ที่เป็นกามธรรม, มหัคคต, บัญญัติ |
๖ คือ ๓ (วิญญานัญจายตนกุศล – วิบาก - กิริยา) ๓ (เนวสัญญานาสัญญายตนกุศล –วิบาก -กิริยา) รับมหัคคตธรรมารมณ์ อย่างเดียว |
๕ คือ ๔ (มหากุศลญาณสัม.) ๑ (กุศลอภิญญาจิต) รับอารมณ์ ๖ ที่เป็นกาม, มหัคคต, โลกุตตระ (เว้นอรหัตตมรรค-ผล), บัญญัติ |
๒๑ คือ ๑๕ (รูปาวจรกุศล - วิบาก - กิริยา) ๖ (อากาสา ๓ + อากิญ ๓) รับบัญญัติธรรมารมณ์ อย่างเดียว |
๑ ( มโนทวาราวัชชนะ) ๖ คือ ๔ ( มหากิริยาญาณสัม.) ๑ ( กิริยาอภิญญาจิต) รับอารมณ์ ๖ ที่เป็นกาม, มหัคคต, โลกุตตระ, บัญญัติ โดยไม่มีเหลือ |
๘ คือ ๘ (โลกุตตรจิต) รับนิพพานธรรมารมณ์อย่างเดียว |
|
คำถามพิเศษ
จิตรับรูป เป็นอารมณ์ มี ๕๖ ดวง
จิตรับนาม เป็นอารมณ์ มี ๕๗ ดวง
จิตรับโลกีย์ เป็นอารมณ์ มี ๖๒ ดวง
จิตรับทุกข์ เป็นอารมณ์ มี ๖๒ ดวง
จิตรับกาลวิมุต เป็นอารมณ์ มี ๑๙ ดวง
จิตรับบัญญัติ เป็นอารมณ์ มี ๕๒ ดวง
จิตรับสังขตธรรม เป็นอารมณ์ มี ๖๒ ดวง
จิตรับอสังขตธรรม เป็นอารมณ์ มี ๖๐ ดวง
ตารางแสดงอารมณ์โดยพิสดาร
อารมณ์ |
องค์ธรรม |
แน่นอน |
ไม่แน่นอน |
กามอารมณ์ |
54, 52, 28 |
25 = 13+12 |
31=20+5+6 รวม 56 |
มหัคคตอารมณ์ |
27, 35 |
6 = 3 + 3 |
31=20+5+6 รวม 37 |
นิพพานอารมณ์ |
นิพพาน |
8 = 8 |
11=5+6 รวม 19 |
นามอารมณ์ |
89 + 52 + นิพพาน |
14 = 6 + 8 |
43=12+20+5+6 รวม 57 |
รูปอารมณ์ |
รูป 28 |
13 = 10 + 3 |
43=12+20+5+6 รวม 56 |
ปัจจุบันอารมณ์ |
89, 52, 28, ที่กำลังเกิด |
13 = 10 + 3 |
43=12+20+5+6 รวม 56 |
อดีตอารมณ์ |
89, 52, 28, ที่ดับไปแล้ว |
6 = 3 + 3 |
43=12+20+5+6 รวม 49 |
อนาคตอารมณ์ |
89, 52, 28, ที่จะเกิด |
ไม่มี |
43=12+20+5+6 รวม 43 |
กาลวิมุตตอารมณ์ |
นิพพาน, บัญญัติ |
29 = 21 + 8 |
31=20+5+6 รวม 58/60 |
บัญญัติอารมณ์ |
อัตถบัญญัติ – สัททบัญญัติ |
21 = 15 + 6 |
31=20+5+6 รวม 50/52 |
ปรมัตถอารมณ์ |
89, 52, 28, นิพพาน |
39 = 25 + 6 +8 |
31=20+5+6 รวม 70 |
อัชฌัตตอารมณ์ |
89, 52, 28, ที่เกิดในตัวเอง |
6 = 3 + 3 |
56=25+20+5+6 รวม 62 |
พหิทธอารมณ์ |
89, 52, 28, ที่เกิดขึ้นแก่ผู้อื่น, รูปที่ไม่มีชีวิต, นิพพาน, บัญญัติ |
26 =15 + อากา3+ 8 |
56 = 25+20+5+6 รวม 80/82 |
อัชฌัตตพหิทธอารมณ์ |
89, 52, 28, ที่เกิดภายใน-ภายนอก |
ไม่มี |
56 = 25+20+5+6 รวม 56 |
ปัญจารมณ์ |
วิสยรูป 7 |
3 = มโนธาตุ 3 |
43 = 12+20+5+6 รวม 46 |
รูปารมณ์ |
สีต่างๆ |
2 =จักขุวิญญาณ 2 |
46 = มโนธาตุ 3 +12+20+5+6 รวม 48 |
สัททารมณ์ |
เสียงต่างๆ |
2 = โสตวิญญาณ 2 |
46 = มโนธาตุ 3 +12+20+5+6 รวม 48 |
คันธารมณ์ |
กลิ่นต่างๆ |
2 = ฆานวิญญาณ 2 |
46 = มโนธาตุ 3 +12+20+5+6 รวม 48 |
รสารมณ์ |
รสต่างๆ |
2 = ชิวหาวิญญาณ 2 |
46 = มโนธาตุ 3 +12+20+5+6 รวม 48 |
โผฏฐัพพารมณ์ |
เย็น-ร้อน, อ่อน-แข็ง, หย่อน-ตึง |
2 = กายวิญญาณ 2 |
46 = มโนธาตุ 3 +12+20+5+6 รวม 48 |
ธรรมารมณ์ |
89, 52, 5, 16, นิพพาน, บัญญัติ |
35 = 21 + 6 +8 |
43 = 12+20+5+6 รวม 76/78 |