วิถีฉักกะ

 

คือ แนวทางแห่งการปรากฏของจิต  ๖  ทาง

.  จักขุทวารวิถี      ได้แก่  จิต ๔๖  ดวง คือ

                                      จักขุวิญญาณจิต     ๒  ดวง

                                      มโนธาตุ                 ๓  ดวง

                                      มโนทวาราวัชชนจิต ๑  ดวง         รวม  ๔๖  ดวง

                                      กามชวนจิต         ๒๙  ดวง

                                      ตทาลัมพนจิต       ๑๑  ดวง

.  โสตทวารวิถี      ได้แก่  จิต  ๔๖  ดวง เหมือนทางตา

.  ฆานทวารวิถี     ได้แก่  จิต  ๔๖  ดวง          เหมือนทางตา

.  ชิวหาทวารวิถี    ได้แก่  จิต  ๔๖  ดวง          เหมือนทางตา

.  กายทวารวิถี      ได้แก่  จิต  ๔๖  ดวง          เหมือนทางตา

.  มโนทวารวิถี     ได้แก่  จิต  ๖๗  ดวง  คือ

                                      อัปปนาชวนจิต       ๒๖  ดวง

                                      มโนทวาราวัชชนจิต    ๑  ดวง      รวม  ๖๗  ดวง

                                      กามชวนจิต            ๒๙  ดวง

                                      ตทาลัมพนจิต         ๑๑  ดวง

 

วิญญาณวิถี  กับ  วิสยัปปวัตติ  มีความหมายอย่างเดียวกันคือ 

วิถีวิญญาณที่เป็นไป ในอารมณ์ ๖  โดยที่อารมณ์นั้นปรากฏชัดเจนมากบ้าง  น้อยบ้าง

วิสยะ  อารมณ์             ปวัตติ  ความเป็นไป

 

 วิสยัปปวัตติ  ได้แก่  จิตที่เป็นไปกับอารมณ์ คราวหนึ่งๆ หรือวาระหนึ่งๆ   แยกออกเป็น ๒ อย่างคือ

                              

 วิสยัปปวัติในปฏิสนธิกาล  คือ ความเป็นไปของจิต และเจตสิกในปฏิสนธิกาลนั้น

                                                         มีอารมณ์ ๓ อย่างคือ

 

กรรมอารมณ์       ได้แก่  ธรรมารมณ์ ที่เกี่ยวกับกุศลกรรม และอกุศลกรรม

                                                ซึ่งทำให้เกิดปฏิสนธิในภพหน้า แสดงตัวให้เด่นชัด

         “ อภิมุขีภูตํ ”

กรรมนิมิตอารมณ์ ได้แก่  อารมณ์ที่เป็นเหตุของการกระทำ ได้แก่

                                                  อารมณ์ ๖  คือ สี เสียง กลิ่น รส เย็น ร้อน อ่อน แข็ง 

                                                  หย่อน ตึง  และสภาพที่รู้ทางใจ

 โดยมุ่ง เอาแต่อารมณ์ ๖ ที่เกี่ยวด้วยการกระทำของตน

คตินิมิตอารมณ์     ได้แก่ อารมณ์แห่งภพชาติ ที่พึงเข้าถึง คือ อารมณ์ที่จะ

                                                 ได้เสวยในภพต่อไป 

 

เป็นอารมณ์ที่ได้จากภพก่อน   เป็นจิตที่พ้นทวาร  เป็นจิตที่พ้นวิถี  เรียกว่า  วิถีวิมุตตจิต

 

วิสยัปปวัติในปวัตติกาล      คือ ความเป็นไปของจิต และเจตสิกที่เป็นไปใน

ปวัตติกาล  มีอารมณ์ ๖ อย่างคือ รูปารมณ์ ฯลฯ เป็นต้น    และปรากฏชัดเจน

เพียงใด  จิตที่เป็นไปในปวัตติกาลนี้ชื่อว่า วิถีจิต   ซึ่งมี ๖ วิถี 

แบ่งออกเป็น ๒ ทางคือ       ทางปัญจทวาร     และ      ทางมโมทวาร

 

 

 

 ทางปัญจทวาร  มี  ๔  คือ

 

อติมหันตารมณ์วิถี       คือวิถีที่มีอารมณ์ ยาวที่สุด  แรงที่สุด

                  

ตี.   ปัญจ.   .   สัม.   สัน.   โว.   ช ช ช ช ช ช ช.   ตทา ตทา.    .

 

          .   อดีตภวังค์               ได้แก่   กามปฏิสนธิจิต         ๑๐  ดวง     

.   ภวังคจลนะ             ได้แก่   กามปฏิสนธิจิต         ๑๐  ดวง

.   ภวังคุปัจเฉทะ         ได้แก่   กามปฏิสนธิจิต         ๑๐  ดวง

.   ปัญจทวาราวัชชนะ  ได้แก่   ปัญจทวาราวัชชนจิต   ๑  ดวง (อาวัชชนกิจ)

.   ปัญจวิญญาณ        ได้แก่   ทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐  ดวง (ดวงใดดวงหนึ่ง)

.   สัมปฏิจฉันนะ         ได้แก่   สัมปฏิจฉันนะจิต         ๒  ดวง (ดวงใดดวงหนึ่ง)

.   สันตีรณะ                ได้แก่   สันตีรณจิต                  ๓  ดวง (ดวงใดดวงหนึ่ง)

                   .   โวฏฐัพพนะ   ได้แก่   มโนทวารวัชชนจิต        ๑  ดวง (โวฏฐัพพนกิจ)

.    ชวนะ
๑๐.  ชวนะ                                              
๑๑.  ชวนะ                                         

กล่องข้อความ:        กามชวนจิต ๒๙ ได้แก่   
   อกุศลจิต               ๑๒  ดวง
   มหากุศลจิต             ๘  ดวง  
   มหากิริยาจิต           ๘  ดวง
   หสิตุปปาทจิต         ๑  ดวง
๑๒.  ชวนะ                                                
๑๓.  ชวนะ                                                     
๑๔.  ชวนะ                                                  
๑๕.  ชวนะ

 

 

๑๖.   ตทาลัมพนะ           ได้แก่   ตทาลัมพนจิต   ๑๑  ดวง คือ

          ๑๗.   ตทาลัมพนะ                      สันตีรณจิต    ๓ ดวง   และ

 มหาวิบากจิต ๘ ดวง

 

 

มหันตารมณ์วิถี    คือ วิถีที่มีอารมณ์ ยาวพอสมควร แรงพอควร

                                           มี     นัย  คือ

                   )      ตีตี ปัญจสํโว ช ช ช ช ช ช ช.  ภ ภ.

คือ     ขณะที่ ๑-๓     เป็น ภวังค์

ขณะที่ ๔      เป็น ภวังคจลนะ 

ขณะที่ ๕      เป็น ภวังคุปัจเฉท

ขณะที่ ๖      จึงจะเป็น ปัญจทวาราวัชชนะ

แล้วเป็นต่อไปจนสุดชวนะที่ ๑๕ แล้วหมดวิถี

 

)      ตี.   ตีตี.  ปัญจสํโว ช ช ช ช ช ช ช.  ภ ภ.

                             คือ วิถีจิตหมดลงเมื่อหมดชวนะที่ ๑๕  โดยไม่มีตทาลัมพนะ  ๒  ขณะ

 

ปริตตารมณ์วิถี    คือวิถีที่มี อารมณ์สั้น   มี     นัย  คือ

                   )              ตีตีตีตี.  ปัญจสํโวโวโว.  .

                   )        ตีตีตีตีตี   นปัญจสํ โวโวโว.  .

                   )   ตีตีตีตีตีตี ปัญจสํ โวโวโว.  .

                   )   ตีตีตีตีตีตีตี.  ปัญจสํโวโวโว.  .

                   )   ตีตีตีตีตีตีตีตี ปัญจสํโวโวโว

                   )   ตีตีตีตีตีตีตีตีตี.  ปัญจสํ.   โวโว

 

.  อติปริตตารมณ์วิถี    คือวิถีที่มี อารมณ์สั้นที่สุด   มี    นัย  คือ

                   )   ตีตีตีตีตีตีตีตีตีตี.  .

                   )   ตีตีตีตีตีตีตีตีตีตีตี.  .

                   .)  ตีตีตีตีตีตีตีตีตีตีตีตี .

                   )   ตีตีตีตีตีตีตีตีตีตีตีตีตี.  .

                   )   ตีตีตีตี.  ตีตีตีตีตีตีตีตีตีตี.  .

                   )   ตีตีตีตีตีตีตีตีตีตีตีตีตีตีตี .

อติปริตตารมณ์วิถี บางทีเรียกว่า โมฆะวาระ

เพราะอารมณ์นี้ไม่มีวิถีจิตเกิดได้เลยทั้ง ๖ นัยของอติปริตตารม

เพราะการรู้อารมณ์น้อยมากเหลือเกิน  คือไม่ได้รับอารมณ์ใหม่เลย

 

วาระ   คือ ความสิ้นสุดของจิตที่หมดกิจในการรับอารมณ์

อติมหันตารมณ์   เรียก   ตทาลัมพนวาระ   เพราะ  สิ้นสุดที่ตทาลัมพนะ

.   มหันตารมณ์       เรียก   ชวนวาระ             เพราะ  สิ้นสุดที่ชวนะ

. ปริตตารมณ์         เรียก   โวฏฐัพพนวาระ    เพราะ  สิ้นสุดที่โวฏฐัพพนะ

อติปริตตารมณ์    เรียก   โมฆะวาระ           เพราะ  ไม่ได้รับอารมณ์ใหม่เลย

 

      

ทางปัญจทวาร

         

จิตที่มีสิทธิ์มาทำ ภวังคจิตสืบต่อภพใน  อติมหันตารมณ์  มีได้เพียง  กามภวังค์ 

คือ อุเบกขาสันตีรณจิต ๒  ดวง กับ มหาวิบากจิต ๘  ดวง 

และ วิถีทางตทาลัมพนวาระนี้ ก็เกิดได้เฉพาะ กามภูมิ เท่านั้น 

เพราะ องค์ของตทาลัมพนจิต จะเกิดได้  ต้องประกอบด้วยลักษณะ  ๕  อย่าง  คือ

                   ต้องเป็น  กามภูมิ

              ต้องเป็น  กามสัตว์

                   ต้องเป็น  กามชวนะ

                   ต้องเป็น  อารมณ์ที่มีกำลังแรง

                   ต้องเป็น  กามอารมณ์

      

ทางมโนทวารวิถี   มี  ๒  คือ

 

                วิภูตารมณ์วิถี  ได้แก่ อารมณ์ ๖  ที่ปรากฎชัดทางใจ มากที่สุด 

        จนทำให้วิถีจิต ถึง ตทาลัมพนวาระ

. . . . . . .  (ตทาลัมพนวาระ)

          อวิภูตารมณ์วิถี  ได้แก่  อารมณ์ ๖  ที่ปรากฎชัดทางใจมาก

จนทำให้วิถีจิต ถึง แค่ชวนเท่านั้น

                             .  . . . . . . .             (ชวนวาระ)

         

        อายุของจิต                  

                ๑ ขณะจิต  คือ อายุจิตดวงหนึ่ง  แบ่งออกโดยอาการปรากฏเป็น  ๓  อนุขณะ คือ

อุปปาทขณะ  คือ  ขณะเริ่มก่อน ขณะแรกเกิด

                             ฐีติขณะ         คือ  ขณะตั้งอยู่ ยังไม่ดับ

                             ภังคขณะ       คือ  ขณะที่กำลังดับ

อายุของจิตนี้          มีการเกิดดับเร็วมาก

 

จำนวนชวนจิตที่เกิดได้

                คนธรรมดา        มีชวนะ      ๗      ขณะ

                คนเจ็บ              มีชวนะ      ๖      ขณะ

                คนใกล้ตาย       มีชวนะ      ๕      ขณะ

                ยมกปฏิหาริย์      มีชวนะ   ๔ - ๕     ขณะ
                         ขณะอยู่ในฌาน  มีชวนะเกิด-ดับได้มาก ไม่จำกัดจำนวน

           

 

ในปัญจทวารอติมหันตารมณ์ ๑ วิถี ประกอบด้วยจิตเกิด-ดับ ๑๗ ขณะ( ๕๑ อนุขณะ )

 

           การนับวิถีจิต    นับโดยย่อมี          ๗     วิถี ( นับ ๑ ขณะ ๑ วิถี กิจเหมือนกันนับเป็น ๑)

                                   นับโดยสามัญมี      ๑๔     วิถี (นับ ๑ ขณะ ๑ วิถี)

                                   นับโดยพิเศษ         ๔๖      วิถี (นับจำนวนจิตที่ทำกิจได้)

                                   นับโดยพิสดาร       ๕๔      วิถี (เพิ่มจิตในส่วนของทวิปัญจวิญญาณ)

    

   ตี.   .   .   ปัญจ.   จัก.   สัม.   .   โว.   ช  ช  ช  ช  ช  ช  ช.  ตทา  ตทา. ภ.

      นับโดยย่อ           ๑            ๒          ๓         ๔        ๕                         ๖                                ๗             =  ๗

      นับโดยสามัญ     ๑            ๒          ๓         ๔        ๕                       ๖-๑๒                       ๑๓-๑๔         =๑๔
         นับโดยพิเศษ    ๑        ๒       ๒      ๓      ๑         กามชวน ๒๙       
    รวม ๔๖     

          นับโดยพิสดาร   ๑      ๑๐       ๒      ๓      ๑        กามชวน ๒๙        ๘   รวม  ๕๔