ภูมิกับบุคคล

 

 

ภูมิทั้งหมดมี  ๓๑  ภูมิ  ได้แก่

            กามภูมิ  ๑๑   คือ       อบายภูมิ  ๔,              กามสุคติภูมิ  ๗

            รูปภูมิ    ๑๖   คือ       ปฐมฌานภูมิ  ๓,       ทุติยฌานภูมิ  ๓

                                                ตติยฌานภูมิ  ๓,        จตุตถฌานภูมิ  ๗

            อรูปภูมิ   ๔   คือ        อากาสานัญจายตนฌานภูมิ

                                                วิญญาณัญจายตนฌานภูมิ

                                      อากิญจัญญายตนฌานภูมิ

                                                เนวสัญญานาสัญญายตนฌานภูมิ

 

อบายภูมิ  ๔  ที่ในกามภูมิ  ๑๑  คือ

 

นิรยะภูมิ    =    นิ + อย + ภูมิ  ไม่มี + กุศล + ที่อยู่  ได้แก่ภูมิของสัตว์นรก

                              คือที่อยู่ของสัตว์นรกที่ต้องถูกทรมานจนหาความสุขไม่ได้

            นรก    =    ความเดือดร้อน  ความไม่มีสุข

       ดังนี้  คำว่า นิรย  และนรก  จึงใช้ความหมายเดียวกัน

           

            นรกมี   ๒   ประเภท  คือ

                        )   มหานรก             ได้แก่              นรกขุมใหญ่  มี   ๘  ขุม

                        อุสสทนรก         ได้แก่              จุฬนรก  ได้แก่ นรกขุมย่อยลงมาจากมหานรก

 

 

        .   เปตติภูมิ      ภูมิของเปรต

เปรต   เป็นสัตว์ที่มีความเดือดร้อนมากเพราะอดอยาก  หิวโหย 

ต่างกับสัตว์นรก  ที่เดือดร้อนเพราะถูกทรมาน

 

                        เปรตแบ่งออกเป็นพวกใหญ่ๆ ได้  ๔  พวก  คือ

                        )   ปรทัตตูปชีวิกเปรต       เป็นเปรตที่เลี้ยงชีวิตโดยอาศัยผู้อื่นอุทิศส่วนกุศลให้

                        )   ขุปปิปาสิกเปรต           เป็นเปรตที่อดอยากหิวโหย  หิวข้าว – น้ำ เป็นนิจ

                        )   นิชฌามตัณหิกเปรต     เป็นเปรตที่ถูกไฟเผาผลาญให้เร่าร้อนอยู่เสมอ

                        )   กาลกัญจิกเปรต            เป็นเปรตจำพวกอสุรกาย

           

            .   อสุรกายภูมิ        คือหมู่สัตว์ที่ไม่สว่างรุ่งโรจน์  โดยความอิสระ และสนุกรื่นเริง

                                                คำว่า “ไม่รุ่งโรจน์”  หมายถึงความเป็นอยู่ฝืดเคือง  ใจคอไม่ร่าเริง 

หน้าชื่นอกตรม

                        อสุรกาย  มี  ๓  ประเภท  คือ

                        )   เทวอสุรกาย       ได้แก่  อสุรกายที่เป็นเทวดา              มี   ๖   เหล่า

                        )   เปตติอสุรกาย   ได้แก่  อสุรกายที่เป็นเปรต     มี   ๓   เหล่า

                        )   อาวุทธิกเปรตอสุรกาย     ได้แก่  พวกที่ชอบประหารกันเอง

 

            .   ติรัจฉานภูมิ   หรือ เดียรัจฉาน           คือสัตว์ที่ไปโดยขวาง จากมรรคผล

 


 

             กามสุคติภูมิ มีอยู่   ๗   ภูมิ  คือ   

                 มนุษย์ภูมิ  ๑               เทวภูมิ  ๖      

                     สุคติ  สุ  คติ  ดี  ที่ไปเกิดของสัตว์      

                     หมายถึง ภูมิอันเป็นที่เกิดแห่งสัตว์ด้วยดี  (มีความสุข)

 

          เทวภูมิ  ๖  ภูมิ  ได้แก่

 

                        .        จาตุมหาราชิกาภูมิ

                        .       ตาวติงสาภูมิ

                        .        ยามาภูมิ

                        .        ดุสิตาภูมิ

                        .        นิมมานรตีภูมิ

                        .        ปรนิมมิตวสวัตตีภูมิ

 

                        ภูมิ มี   ๓๑   ภูมิ              ภพ มี   ๙   ภพ

 


 

จำแนกภูมิ  ๓๑  ภูมิ โดยบุคคล  ๑๒

 

  อบายภูมิ    ๔

เป็นที่เกิดของ ทุคติบุคคล จำพวกเดียว

มนุษย์ภูมิ    ๑

      จาตุมหาราชิกาภูมิ    ๑

         เป็นที่เกิดของ บุคคล  ๑๑  (เว้น ทุคติบุคคล)

ดาวดึงสาภูมิ    ๑

      ยามาภูมิ    ๑

      ดุสิตาภูมิ    ๑

      นิมมานนรดีภูมิ    ๑

     ปรนิมมิตวสวัตตีภูมิ    ๑

 

เป็นที่เกิดของ บุคคล   ๑๐  จำพวก

     (เว้น ทุคติบุคคล  ๑สุคติเหตุกบุคคล  ๑)

ปฐมฌานภูมิ    ๓

      ทุติยฌานภูมิ    ๓

      ตติยฌานภูมิ    ๓

      เวหัปผลาภูมิ    ๑

 

เป็นที่เกิดของ บุคคล  ๙  จำพวก คือ

              ติเหตุกปุถุชน  ๑อริยบุคคล  ๘

อสัญญสัตตภูมิ    ๑

เป็นที่เกิดของ สุคติอเหตุกบุคคล

ที่มีรูปปฏิสนธิ จำพวกเดียว

สุทธาวาสภูมิ    ๕

เป็นที่เกิดของ บุคคล  ๓  จำพวก คือ

                       อนาคามิผลบุคคล  ๑

                      อรหัตตมรรคบุคคล  ๑

                      อรหัตตผลบุคคล  ๑

อรูปภูมิ    ๔

เป็นที่เกิดของ บุคคล  ๘  จำพวก คือ

ติเหตุกปุถุชน  ๑อริยบุคคล  ๗

(เว้น โสดาปัตติมรรคบุคคล ๑)

 

 


 

แสดงบุคคล  ๒๑๔  จำพวก  ใน  ๓๑  ภูมิ

 

 

            .   อบายภูมิ  ๔                    มีภูมิละ     ๑   จำพวก           รวมเป็น   ๔  จำพวก

           

มนุษย์ภูมิ  ๑                    มีบุคคล   ๑๑   จำพวก          (เว้นทุคติบุคคล  ๑)

           

จาตุมหาราชิกาภูมิ  ๑    มีบุคคล   ๑๑   จำพวก          (เว้นทุคติบุคคล  ๑)

 

เทวภูมิ  ๕  ภูมิ                มีบุคคล   ๑๐   จำพวก          รวมเป็น   ๕๐   จำพวก

 

รูปภูมิ  ๑๐  ภูมิ คือ         ปฐมฌานภูมิ  ๓ทุติยฌานภูมิ  ๓ตติยฌานภูมิ  ๓, เวหัปผลาภูมิ  ๑

รวมเป็น   ๑๐   ภูมิ

มีภูมิละ   ๙   จำพวก             รวมเป็น   ๙๐   จำพวก

 

อสัญญสัตตภูมิ ๑ ภูมิ     มีบุคคล   ๑   จำพวก           

 

สุทธาวาสภูมิ  ๕   ภูมิ     มีบุคคลภูมิละ  ๓ จำพวก    รวมเป็น   ๑๕   จำพวก

 

อรูปภูมิ  ๔  ภูมิ               มีบุคคลภูมิละ  ๘ จำพวก    รวมเป็น   ๓๒   จำพวก

 

รวม   ๓๑  ภูมิ  มีบุคคลที่อาศัยอยู่ไม่ได้ใน  ๒๑๔  จำพวก  

 

คือ      อริยบุคคล   ๗,     ติเหตุกบุคคล  ๑

                  


 

  รูปภูมิ  ๑๖

 

ปฐมฌานภูมิ  มี  ๓  คือ

                                    พรหมปาริสัชชาภูมิ  ๑

                                    พรหมปุโรหิตาภูมิ  ๑

                                    มหาพรหมาภูมิ  ๑

ทุติยฌานภูมิ  มี  ๓  คือ

                                    ปริตตาภาภูมิ  ๑

                                    อัปปมาณาภาภูมิ  ๑

                                    อาภัสสราภูมิ  ๑

ตติยฌานภูมิ  มี  ๓  คือ

                                    ปริตตสุภาภูมิ  ๑

                                    อัปปมาณสุภาภูมิ  ๑

                                    สุภกิณหาภูมิ  ๑

จตุตถฌานภูมิ  มี  ๗  คือ

                                    เวหัปผลาภูมิ  ๑

                                    อสัญญสัตตภูมิ  ๑

                                    สุทธาวาสภูมิ  ๕

 

 

สุทธาวาสภูมิ ๕  เป็นภูมิของผู้บริสุทธิ์จากกามราคะ ได้แก่  พระอนาคามี  และพระอรหันต์

 

คือ       อวิหาภูมิ  ๑               อายุประมาณได้   ๑,๐๐๐  มหากัป      มี    สัทธินทรีย์    

            อตัปปาภูมิ  ๑            อายุประมาณได้   ๒,๐๐๐  มหากัป      มี    วิริยินทรีย์

            สุทัสสาภูมิ  ๑            อายุประมาณได้   ๔,๐๐๐  มหากัป     มี    สตินทรีย์

            สุทัสสีภูมิ  ๑              อายุประมาณได้   ๘,๐๐๐  มหากัป     มี    สมาธินทรีย์

            อกนิฏฐาภูมิ  ๑         อายุประมาณได้ ๑๖,๐๐๐  มหากัป     มี    ปัญญิณทรีย์

 

*  ข้อสังเกต  ในสุทธาวาสภูมิทั้ง ๕  ภูมินี้  จะต้องได้อนาคามีผลไปก่อน

 

 

อรูปภูมิ  ๔

 

เป็นการแสดงการเกิดของ  อรูปพรหมบุคคล ในอรูปภูมิ ดังนี้

.        อากาสานัญจายตนวิบากจิต        ดวง    

เป็นปฏิสนธิ  ภวังค์  และจุติ ของ  อากาสานัญจายตนพรหม

.       วิญญาณัญจายตนวิบากจิต           ดวง    

เป็นปฏิสนธิ  ภวังค์  และจุติ ของ  วิญญาณัญจายตนพรหม

.        อากิญจัญญายตนวิบากจิต           ดวง    

เป็นปฏิสนธิ  ภวังค์  และจุติ ของ  อากิญจัญญายตนพรหม

.        เนวสัญญานาสัญญายตนวิบากจิต          ดวง    

เป็นปฏิสนธิ  ภวังค์  และจุติ ของ  เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม

 


 

 กามปฏิสนธิ  ๑๐,   อบายภูมิปฏิสนธิ  ๑

                        บรรดาปฏิสนธิ  ๔  อย่าง   

                        อุเบกขาสันตีรณอกุศลวิบาก เป็น ปฏิสนธิในขณะที่ก้าวลงอบายภูมิ 

                        หลังจากปฏิสนธินั้นเป็นภวังค์  ในเวลาสิ้นสุดแห่งภวังค์เป็นจุติ ย่อมขาดไป

ปฏิสนธินี้เรียกว่า   “อบายปฏิสนธิ”

                                        

                   อบายจุติ  ๑      ได้อบายปฏิสนธิ   ๑   ดวง

          สุคติจุติ  ๑        ได้อบายปฏิสนธิ   ๑   ดวง

มหาวิบากญาณวิปปยุตตจิต  ๔      ได้อบายปฏิสนธิ   ๑   ดวง

มหาวิบากญาณสัมปยุตตจิต  ๔      ได้อบายปฏิสนธิ   ๑   ดวง