ปริจเฉทที่ ๔ วิถีสังคหวิภาค
หน้าที่
: 1 2
3 4 5 6 7
8 9 10 11 12
13 14 15 16 17
18 19 20 21 22
23 24 25
26 27 28 29 30 31 32
33 34 35 36 37 38 39
40 41 42 43 44 45 46
47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57
58 59 60 61 62 63 64
65 66 67 68 69 70 71
72 73 74 75
76 77 78 79 80 81
82 83 84 85 86 87 88 89
90 91 92 93 94 95 96 ค้นหาหัวข้อธรรม
กุสลวิบาก
และ อกุสลวิบาก
เมื่อได้ดูตามวิถีจิตแล้ว
จะเห็นได้ว่าจิตในวิถี ๔ ประเภท
คือ ปัญจวิญญาณ จิต ๑,
สัมปฏิจฉันนจิต
๑,
สันตีรณจิต
๑ และ ตทาลัมพนจิต ๑ ล้วนแต่เป็น
วิบากจิตทั้งสิ้น
วิบากจิตเหล่านี้เป็นผลของกุสล
และอกุสล
จิตนั้นจะเป็นกุสลวิบาก
หรืออกุสลวิบาก
ก็ย่อมแล้วแต่อารมณ์ที่จิตนั้นประสบ
กล่าวคือ
๑.
เมื่อประสบกับ
อติอิฏฐารมณ์ คือ
อารมณ์ที่ดีมากแล้ว
ปัญจวิญญาณจิต สัมปฏิจฉันนจิต
สันตีรณจิต และตทาลัมพนจิต
ย่อมเป็น กุสลวิบาก
ทั้งสิ้น
โดยเฉพาะ
สันตีรณจิต
และ ตทาลัมพนจิต
ย่อมเกิดพร้อมด้วย โสมนัส
เวทนา
เสมอ
ตี น ท ป วิ
สํ
สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต
|
|
|
|
|
|
|
|
|
กุสลวิบาก กุสลวิบาก กุสลวิบาก
กุสลวิบาก
อุเบกขา
อุเบกขา
โสมนัส
โสมนัส
(สำหรับกายวิญญาณ
ก็เป็นสุขเวทนา
ไม่ใช่อุเบกขาเวทนา)
๒.
เมื่อประสบกับอิฏฐารมณ์
คืออารมณ์ที่ดีแล้ว จิตทั้ง ๔
ประเภทนี้ ก็เป็น
กุสลวิบากเช่นเดียวกัน แต่ สันตีรณจิต
และ ตทาลัมพนจิต
ย่อมเกิดพร้อมด้วย อุเบกขาเวทนา
ตี น ท ป วิ
สํ
สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต
|
|
|
|
|
|
|
|
|
กุสลวิบาก กุสลวิบาก กุสลวิบาก
กุสลวิบาก
อุเบกขา
อุเบกขา
อุเบกขา
อุเบกขา
(สำหรับกายวิญญาณ
ก็เป็นสุขเวทนา ไม่ใช่อุเบกขา)
๓.
เมื่อประสบกับ
อนิฏฐารมณ์
คือ อารมณ์ที่ไม่ดีแล้ว จิตทั้ง ๔
ประเภท นั้น เป็นอกุสลวิบาก
อันเกิดพร้อมด้วย อุเบกขาเวทนา
แต่อย่างเดียว
ตี น ท ป วิ
สํ
สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อกุสลวิบาก
อกุสลวิบาก อกุสลวิบาก
อกุสลวิบาก
อุเบกขา
อุเบกขา
อุเบกขา
อุเบกขา
(สำหรับกายวิญญาณ
ก็เป็นทุกขเวทนา ไม่ใช่อุเบกขา)
จัดทำโดย มูลนิธิอภิธรรมมูลนิธิ