ปริจเฉทที่ ๖ รูปสังคหวิภาค
หน้าที่
: 1 2
3 4 5 6 7
8 9 10 11 12
13 14 15 16 17
18 19 20 21 22
23 24 25
26 27 28 29 30 31 32
33 34 35 36 37 38 39
40 41 42 43 44 45 46
47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57
58 59 60 61 62 63 64
65 66 67 68 69 70 71
72 73 74 75
76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 ค้นหาหัวข้อธรรม
รูปทั้ง
๒๘ แบ่งเป็น
๑๑ ประเภทเล็ก เป็นนิปผันนรูป
๗ ประเภท
อนิปผันนรูป ๔
ประเภท
ประเภทที่
๑ มหาภูตรูป มี ๔
รูป คือ
๑.
ปฐวีธาตุ ได้แก่ ธาตุดิน
๒.
อาโปธาตุ ได้แก่ ธาตุน้ำ
๓.
เตโชธาตุ ได้แก่ ธาตุไฟ
๔.
วาโยธาตุ ได้แก่ ธาตุลม
ประเภทที่
๒ ปสาทรูป มี ๕
รูป คือ
๑.
จักขุปสาทรูป ได้แก่ ปสาทตา
๒.
โสตปสาทรูป ได้แก่ ปสาทหู
๓.
ฆานปสาทรูป ได้แก่ ปสาทจมูก
๔.
ชิวหาปสาทรูป ได้แก่ ปสาทลิ้น
ประเภทที่
๕.
กายปสาทรูป ได้แก่ ปสาทกาย
๑-๗
เป็น
ประเภทที่
๓ วิสยรูป หรือโคจรรูป มี ๔
รูป คือ
นิปผันนรูป
๑.
วัณณะรูป หรือ รูปสี (รูปารมณ์)
๒.
สัททรูป หรือ รูปเสียง (สัททารมณ์)
๓.
คันธรูป หรือ รูปกลิ่น (คันธารมณ์)
๔.
รสะรูป หรือ รูปรส (รสารมณ์)
ประเภทที่
๔ ภาวรูป มี ๒
รูป คือ
๑.
อิตถีภาวรูป
รูปที่แสดงถึงความเป็นหญิง
๒.
ปุริสภาวรูป
รูปที่แสดงถึงความเป็นชาย
ประเภทที่
๕ หทยรูป มี ๑
รูป คือ
หทยรูป
คือ รูปที่เป็นที่ตั้ง
อาศัยเกิดของจิตและเจตสิก
ประเภทที่
๖ ชีวิตรูป มี ๑
รูป คือ
ชีวิตรูป
คือ
รูปที่รักษากลุ่มรูปที่เกิดจากกรรม
ประเภทที่
๗ อาหารรูป มี ๑
รูป คือ
อาหารรูป
คือ โอชาที่มีอยู่ในอาหาร
ประเภทที่
๘ ปริจเฉทรูป มี ๑
รูป คือ
ปริจเฉทรูป
ได้แก่
ช่องว่างระหว่างรูปต่อรูป
ประเภทที่
๙ วิญญัตติรูป มี ๒
รูป คือ
๑.
กายวิญญัตติรูป ได้แก่ การไหวกาย
๒.
วจีวิญญัตติรูป ได้แก่
การกล่าววาจา
ประเภทที่
ประเภทที่
๑๐ วิการรูป มี ๓
รูป คือ
๘-๑๑
เป็น
๑.
ลหุตารูป ได้แก่ รูปเบา
อนิปผันนรูป
๒.
มุทุตารูป ได้แก่ รูปอ่อน
๓.
กัมมัญญตารูป ได้แก่ รูปควร
ประเภทที่
๑๑ ลักขณรูป มี ๔
รูป คือ
๑.
อุปจยรูป ได้แก่
รูปที่เกิดขึ้นขณะแรก
๒.
สันตติรูป ได้แก่
รูปที่เกิดสืบต่อเนื่อง
๓.
ชรตารูป ได้แก่ รูปใกล้ดับ
๔.
อนิจจตารูป ได้แก่ รูปที่แตกดับ
จัดทำโดย มูลนิธิอภิธรรมมูลนิธิ