ปริจเฉทที่ ๗ สมุจจยสังคหวิภาค
หน้าที่
: 1 2
3 4 5 6 7
8 9 10 11 12
13 14 15 16 17
18 19 20 21 22
23 24 25
26 27 28 29 30 31 32
33 34 35 36 37 38 39
40 41 42 43 44 45 46
47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57
58 59 60 61 62 63 64
65 66 67 68 69 70 71
72 73 74 75
76 77 78 79 80 81 82 83 ค้นหาหัวข้อธรรม
กิเลส
๑๕๐๐
อารมฺมณธมฺม
=
ธรรมที่เป็นอารมณ์ |
อชฺฌตฺต ภายใน |
พหิทฺธ ภายนอก |
รวม |
||
นาม |
จิต เจตสิก |
1 52 |
1 52 |
2 104 |
|
รูป |
นิปผันนรูป ลักขณรูป |
18 4 |
18 4 |
36 8 |
|
|
รวม |
75 |
75 |
150 |
|
อารัมมณธรรม
คือ ธรรมที่เป็นอารมณ์ ๑๕๐
คูณด้วยกิเลส ๑๐ จึงเป็นกิเลส
โดยพิสดาร ๑,๕๐๐
ที่แสดงกิเลส
๑,๕๐๐
นี้
เป็นการแสดงกิเลสตามธรรมที่เป็นอารมณ์
ทั้งภาย ในและภายนอก
อีกนัยหนึ่ง
จำแนกกิเลสออกตามอาการของกิเลส
ก็จำแนกได้เป็น ๓ จำพวก คือ
ก.
อนุสยกิเลส
ได้แก่
กิเลสที่ตามนอนเนื่องอยู่ในสันดาน
หมายความว่า
กิเลสจำพวกนี้นอนสงบนิ่งอยู่
ยังไม่ได้ลุกขึ้นมาแผลงฤทธิ์
ซึ่งตัวเองก็ไม่สามารถรู้ ได้
และคนอื่นก็ไม่สามารถรู้ได้
ข.
ปริยุฏฐานกิเลส
ได้แก่ กิเลสที่เกิดอยู่ภายใน
หมายความว่า กิเลสจำพวก
นี้เกิดอยู่ในมโนทวารเท่านั้น
คือลุกขึ้นมาแผลงฤทธิ์อยู่ในใจ
ยังไม่ถึงกับแสดง
ออกมาทางวาจาหรือทางกาย
ซึ่งตัวเองรู้
ส่วนคนอื่นบางทีก็รู้บางทีก็ไม่รู้
ค.
วีติกกมกิเลส
ได้แก่ กิเลสที่เกิดขึ้นภายนอก
หมายความว่า กิเลสจำพวก
นี้ได้ล่วงออกมาแล้วถึงกายทวาร
หรือวจีทวาร
อันเป็นการลุกขึ้นมาแผลงฤทธิ์อย่าง
โจ่งแจ้ง
จัดทำโดย มูลนิธิอภิธรรมมูลนิธิ