ปริจเฉทที่ ๙ กัมมัฏฐานสังคหวิภาค
หน้าที่
: 1 2
3 4 5 6 7
8 9 10 11 12
13 14 15 16 17
18 19 20 21 22
23 24 25
26 27 28 29 30 31 32
33 34 35 36 37 38 39
40 41 42 43 44 45 46
47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57
58 59 60 61 62 63 64
65 66 67 68 69 70 71
72 73 74 75
76 77 78 79 80 81
82 83 84 85 86 87 88 89
90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100
101 102 103 104 105 106 107 108
109 110 111 112 113 114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
ค้นหาหัวข้อธรรม
หมวดที่
๑ กสิณ ๑๐
กสิณ
คือกัมมัฏฐานที่ว่าด้วย ทั้งปวง
หมายความว่า เช่น เพ่งปฐวีกสิณ
ก็เหมือนกับว่าเพ่งดินทั้งปวง
หรือว่าดินทั้งปวงก็เหมือนกับดินที่ดวงกสิณนี้เอง
อีกนัยหนึ่ง
หมายว่า ทั่วไป ทั้งหมด
คือการเพ่งดวงกสิณ
จะต้องเพ่งให้ทั่วทั้งดวงกสิณ
เพ่งให้ตลอดทั่วถึงหมดทั้งดวงกสิณ
เพ่งให้ทั่วถึงทุกกระเบียดนิ้ว
กสิณมี
๑๐ อย่าง
แม้จะเพ่งอย่างใดอย่างหนึ่งอย่างแน่แน่ว
ก็จะทำให้จิตไม่ดิ้นรน
ไม่กระสับกระส่าย
ทำให้กิเลสเครื่องเศร้าหมองเร่าร้อนต่าง
ๆ สงบระงับ
สามารถทำให้เกิดฌานจิตตั้งแต่ปฐมฌาน
ขึ้นไปตามลำดับจนถึงปัญจมฌานได้
กสิณ ๑๐ คือ
๑.
ปฐวีกสิณ คือเพ่ง
ดิน
๒.
อาโปกสิณ
คือเพ่ง
น้ำ
กสิณทั้ง
๔ นี้ เนื่องด้วยมหาภูตรูปทั้ง ๔
๓.
เตโชกสิณ
คือเพ่ง
ไฟ
จึงรวมเรียกว่า
ภูตกสิณ
๔.
วาโยกสิณ คือเพ่ง
ลม
๕.
นีลกสิณ
คือเพ่ง
สีเขียว
๖.
ปีตกสิณ
คือเพ่ง
สีเหลือง
กสิณทั้ง
๔ นี้เนื่องมาจากสี จึงรวม
๗.
โลหิตกสิณ
คือเพ่ง
สีแดง
เรียกว่า
วัณณกสิณ
๘.
โอทาตกสิณ คือเพ่ง
สีขาว
๙.
อากาสกสิณ คือเพ่ง
ที่ว่างเปล่า
๑๐.
อาโลกกสิณ คือเพ่ง
แสงสว่าง
จัดทำโดย มูลนิธิอภิธรรมมูลนิธิ