ปริจเฉทที่ ๙ กัมมัฏฐานสังคหวิภาค
หน้าที่
: 1 2
3 4 5 6 7
8 9 10 11 12
13 14 15 16 17
18 19 20 21 22
23 24 25
26 27 28 29 30 31 32
33 34 35 36 37 38 39
40 41 42 43 44 45 46
47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57
58 59 60 61 62 63 64
65 66 67 68 69 70 71
72 73 74 75
76 77 78 79 80 81
82 83 84 85 86 87 88 89
90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100
101 102 103 104 105 106 107 108
109 110 111 112 113 114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
ค้นหาหัวข้อธรรม
วิปัสสนาภูมิ
วิปัสสนาภูมิ
คือ
พื้นเพในการเจริญวิปัสสนาภาวนานั้น
มี ๖ ได้แก่
๑.ขันธ์
๕
๒.อายตนะ
๑๒ ๓.ธาตุ
๑๘ ๔.อินทรีย
๒๒ ๕.ปฏิจจสมุปปาท
๑๒ ๖.อริยสัจจ
๔ แต่ข้อ๑ ถึงข้อ ๔ และข้อ ๖ รวม ๕ ข้อนี้
ได้แสดงไว้แล้วในคู่มือปริจเฉทที่
๗ ส่วนข้อ ๕ ปฏิจจสมุปปาทนั้น
ก็ได้กล่าวไว้ในคู่มือปริจเฉทที่
๘ แล้ว
จึงไม่ต้องกล่าวซ้ำในที่นี้อีก
วิปัสสนาภูมิ
๖ นี้ เมื่อย่อลงก็ได้แก่ รูป
นาม
เท่านี้เอง
ชั้นต้นต้องพิจารณาให้เห็นรูปนามก่อน
แล้วกำหนดดูจนเห็นปัจจัยที่ให้เกิดรูปนาม
ต่อจากนั้นจึงเพ่งให้เห็นแจ้งไตรลักษณ์ว่า
รูปนามมีลักษณะที่ไม่เที่ยง
ทนอยู่ไม่ได้
บังคับบัญชาว่ากล่าวให้เป็นไปตามใจชอบก็ไม่ได้
เมื่อเพ่งจนเห็นไตรลักษณ์
ก็จะได้ละความเห็นผิด เข้าใจผิด
จำผิด ว่ารูปนามเป็นของเที่ยง
เป็นสุข เป็นตัวตน
ที่พึงบังคับบัญชาได้
ตลอดจนว่าเป็นสิ่งที่สวยงาม
การเห็นผิด เข้าใจผิด
จำผิดนี้เรียกว่า วิปัลลาสธรรม
คือเป็นสิ่งที่วิปลาสคลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง
จัดทำโดย มูลนิธิอภิธรรมมูลนิธิ