ปริจเฉทที่ ๙ กัมมัฏฐานสังคหวิภาค
หน้าที่
: 1 2
3 4 5 6 7
8 9 10 11 12
13 14 15 16 17
18 19 20 21 22
23 24 25
26 27 28 29 30 31 32
33 34 35 36 37 38 39
40 41 42 43 44 45 46
47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57
58 59 60 61 62 63 64
65 66 67 68 69 70 71
72 73 74 75
76 77 78 79 80 81
82 83 84 85 86 87 88 89
90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100
101 102 103 104 105 106 107 108
109 110 111 112 113 114 115 116 117
118 119 120 121 122
123 124 125 126 ค้นหาหัวข้อธรรม
สรุป
สรุปความว่า
วิปัสสนากัมมัฏฐาน
ที่ตั้งแห่งการงานทางใจ
เพื่อให้รู้แจ้งประจักษ์ซึ่งปรมัตถธรรมนั้น
กล่าวโดยภูมิ
ที่เรียกว่า
วิปัสสนาภูมิ
ก็มี ๖
กล่าวโดยญาณ
ที่เรียกว่า
โสฬสญาณ
ก็มี ๑๖
กล่าวโดยความบริสุทธิ
ที่เรียกว่า
วิสุทธิ
ก็มี ๗
กล่าวโดยบุคคล
ที่เรียกว่า
อริยบุคคล
ก็มี ๘
วิปัสสนาภูมิ
๑.
ขันธ์
๕ ๒.
อายตนะ
๑๒ ๓.
ธาตุ
๑๘ ๔.
อินทรีย
๒๒ ๕.
ปฏิจจสมุปปาท ๖.
อริยสัจจ
๔
ญาณ
๑๖ วิสุทธิ ๗
ปรับเข้ากันได้ดังนี้
สีลวิสุทธิ
จตุปาริสุทธิสีล ๑.
ปาฏิโมกขสังวรสีล
ให้ตั้งอยู่ในสีล
๒.
อินทรียสังวรสีล
สำรวมระวังอินทรียทั้ง ๖
๓.
อาชีวปาริสุทธิสีล มีความเป็นอยู่โดยบริสุทธิ
๔.
ปัจจยสันนิสสิตสีล พิจารณาก่อนบริโภค
จิตตวิสุทธิ
ขณิกสมาธิ
ไม่เผลอไปจากปัจจุบันธรรม
ทิฏฐิวิสุทธิ นามรูปปริจเฉทญาณ กำหนดแจ้งในรูปและนาม
ละ
สักกายทิฏฐิ
เห็นผิดว่าเป็นตัวเป็นตน
เป็น
ญาตปริญญา
กังขาวิตรณวิสุทธิ ปัจจยปริคคหญาณ รู้แจ้งปัจจัยแห่งรูปและนาม
ละ
อเหตุกทิฏฐิ
เห็นผิดว่าไม่มีเหตุ
ละ
วิสมเหตุกทิฏฐิ
ยึดในเหตุที่ไม่เหมาะสม
ละ
กังขามลทิฏฐิ
หม่นหมองเพราะสงสัย
เป็น
ญาตปริญญา
สัมมสนญาณ เห็นความเกิดของรูปนาม
มัคคามัคคญาณ
ละสมูหัคคาหะ
การยึดเรา ยึดเขา
ทัสสนาวิสุทธิ
เป็น
ญาตปริญญา
ตรุณอุทยัพพยญาณ
เห็นทั้งความเกิดและความดับของรูป นามแต่ยังมีวิปัสสนูปกิเลสมารบกวนอยู่
ละ
อมัคเคมัคคสัญญา
สัญญาที่เข้าใจผิด
เป็น
ตีรณปริญญา
ปฏิปทาญาณ
ทัสสนวิสุทธิ |
พลวอุทยัพพยญาณ เห็นทั้งความเกิดและความดับของรูปและนาม
โดยปราศจากวิปัสสนูปกิเลสแล้ว ละ
อุจเฉททิฏฐิ
เห็นผิดว่าตายแล้วสูญ เป็น
ตีรณปริญญา |
ปฏิปทาญาณ
ทัสสนวิสุทธิ |
ภังคญาณ
เห็นแต่ความดับของรูปนาม ละ
สัสสตทิฏฐิ เห็นผิดว่าเที่ยง เป็น
ปหานปริญญา |
ปฏิปทาญาณ
ทัสสนวิสุทธิ |
ภยญาณ
เกิดปัญญารู้แจ้งว่า
รูปและนามนี้เป็นภัย ละ
สภเยอภยสัญญา
สัญญาที่ไม่แจ้งในภัย เป็น
ปหานปริญญา |
ปฏิปทาญาณ
ทัสสนวิสุทธิ |
อาทีนวญาณ เกิดปัญญารู้แจ้งว่า
รูปและนามนี้เป็นโทษ ละ
อัสสาทสัญญา สัญญาที่ยินดี เป็น
ปหานปริญญา |
ปฏิปทาญาณ
ทัสสนวิสุทธิ |
นิพพิทาญาณ
เกิดปัญญาเบื่อหน่ายในรูปนาม ละ
อภิรติสัญญา สัญญาที่เพลิดเพลิน เป็น
ปหานปริญญา |
ปฏิปทาญาณ
ทัสสนวิสุทธิ |
มุญจิตุกมยตาญาณ อยากพ้นจากรูปนาม ละ
อมุญจิตุกามภาวะ
การข้องอยู่ในกาม เป็น
ปหานปริญญา |
ปฏิปทาญาณ
ทัสสนวิสุทธิ |
ปฏิสังขาญาณ หาอุบายที่จะให้พ้นจากรูปนาม ละ
อปฏิสังขาน
การยึดโดยไม่ไตร่ตรอง เป็น
ปหานปริญญา |
ปฏิปทาญาณ
ทัสสนวิสุทธิ |
สังขารุเบกขาญาณ วางเฉยต่อรูปนาม ละ
อนุเปกขณะ การยึดโดยไม่วางเฉย เป็น
ปหานปริญญา |
ปฏิปทาญาณ
ทัสสนวิสุทธิ |
อนุโลมญาณ คล้อยตามให้เห็นอริยสัจจ ละ
สัจจปฏิโลมคาหะ
การยึดโดยไม่คล้อยตามสัจจะ เป็น
ปหานปริญญา |
จัดเป็นปฏิปทาญาณ
โคตรภูญาณ
ปัญญาแจ้งในพระนิพพาน
ทัสสนาวิสุทธิโดยปริยาย
เป็น
ปหานปริญญา
ญาณทัสสนวิสุทธิ มัคคญาณ
ปหานกิเลสเป็นสมุจเฉท
เป็น
ปหานปริญญา
จัดเป็น
ญาณทัสสน ผลญาณ
เสวยอารมณ์พระนิพพานตามมัคค
วิสุทธิ
โดยอนุโลม ปัจจเวกขณญาณ
พิจารณามัคคผล นิพพาน
และกิเลสที่ละแล้ว
กิเลสที่ยังคงเหลือ
จัดทำโดย มูลนิธิอภิธรรมมูลนิธิ